กระแสหนัง เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ (May Who) ทำให้ GTH ปีนี้กลายเป็นค่ายหนังทำเทรลเลอร์สับขาหลอก 2 เรื่องซ้อน ตั้งแต่ Freelance ที่ดูเหมือนจะเป็นหนังกุ๊กกิ๊ก แต่จริงๆ หนังเรียลและดาร์กมาก ส่วนเมย์ไหน เป็นอีกกรณี กล่าวคือเทรลเลอร์ออกมาเป็นหนังวัยรุ่นตีหัวเข้าบ้าน ดูไม่น่าสนใจ … →
Stand by Me Doraemon (ชื่อไทย เพื่อนกันตลอดไป) เป็นภาพยนตร์ในชุดของโดราเอมอนเรื่องที่สองของปี 2014 โดยเรื่องแรกคือภาพยนตร์ประจำปี แต่ Stand By Me มีความพิเศษเพิ่มมาเพื่อเป็นโปรเจกต์เพื่อฉลอง 80 ปีของอาจารย์ Fujiko F. Fujio (หากยังมีชีวิตอยู่) ซึ่งหนังก็ฉายในญี่ปุ่นแบบล็อกวันเลขสวย 8 เดือน 8 ด้วย … →
Doraemon Movie ฉบับปี 2014 คราวนี้เป็นการรีเมกตอนเก่าอีกแล้ว หลังจากหยุดรีเมกตอนเก่ามาได้สองปี โดยเลือกเนื้อเรื่องฉบับปี 1982 ที่ชื่อตอนในสมัยนั้นว่า “ตะลุยดินแดนมหัศจรรย์” โดยเป็นเรื่องของสุนัขจรจัดชื่อเปโกะ ที่โนบิตะไปเจอเข้าแล้วเก็บมาเลี้ยง จากนั้นสุนัขตัวนี้ก็นำพาไปสู่การผจญภัยยังดินแดนลึกลับในแอฟริกา … →
เหตุผลที่ไม่ควรมีเหตุผล หรือชื่อภาษาอังกฤษ The Upside of Irrationality ของ Dan Ariely เป็นงานของ Ariely ที่มีการแปลเป็นภาษาไทยออกมาเล่มล่าสุด (ส่วนเล่มล่าสุดจริงๆ The Honest Truth About Dishonesty เคยเขียนถึงไปแล้ว) เนื้อหาในเล่มนี้เหมือนเป็นภาคต่อจาก Predictably Irrational หรือชื่อไทย พฤติกรรมพยาการณ์ โดยเนื้อหาในเล่มยังคงยกเคสการกระทำและการคิดของมนุษย์ที่ไม่มีเหตุผลอย่างเป็น pattern มานำเสนอครับ … →
The Honest Truth About Dishonesty: How We Lie to Everyone – Especially Ourselves หนังสือชื่อยาวมาก ผลงานเล่มล่าสุดของ Dan Ariely อาจารย์ด้านจิตวิทยาและเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่ Duke University ซึ่งมีผลงาน best seller ก่อนหน้านี้สองเล่ม ซึ่งเล่มหนึ่งแปลไทยไปแล้วคือ พฤติกรรมพยากรณ์ – Predictably Irrational ซึ่งเล่มนี้ตั้งโจทย์หลักให้คนอ่านติดตามว่า อะไรคือสาเหตุที่ทำให้คนเราเลือกที่จะขี้โกง แทนที่จะทำสิ่งต่างๆ ให้ถูกต้อง โดย Ariely ใช้วิธีเปิดประเด็นแต่ละบทว่าอะไรที่น่าจะเป็นปัจจัยให้คนเราเลือกขี้โกง จากนั้นก็ทำการทดลองด้วยวิธีการต่างๆ จากนั้นผลการทดลองที่ได้ก็นำไปสู่ข้อสรุปของแต่ละปัจจัยไปจนจบเล่ม บางอย่างก็เหนือความคาดหมาย บางอย่างก็เป็นไปอย่างที่คนทั่วไปคิด … →